HUAWEI, ทดลองเล่น, แอปพิเคชั่น

HUAWEI FreeBuds 4 หูฟังไร้สายที่เชื่อมต่อได้ 2 อุปกรณ์

HUAWEI FreeBuds 4 หูฟังไร้สายที่เชื่อมต่อได้ 2 อุปกรณ์

หัวเว่ย ฟรีบัส 4 (HUAWEI FreeBuds 4) ที่สุดของหูฟังไร้สายบางเบาที่มอบความสะดวกสบายเหมือนระบบทดลองเล่น ดีไซน์ที่สวมใส่กระชับ สบายหู ลดแรงกดบริเวณหู และส่งมอบคุณภาพเสียงคมชัดระดับ Hi–Res ที่ตอบโจทย์การใช้งานโดยขนเทคโนโลยีกันแบบจัดเต็ม อาทิ ระบบตัดเสียงรบกวน ANC (Active Noise Cancellation)ได้มากถึง 25 เดซิเบล พร้อมไมโครโฟน 3 ตัว

และแบตที่ใช้งานได้ต่อเนื่อง 22 ชั่วโมง และมาพร้อมมาตรฐานป้องกันน้ำ IPX4 โดย หัวเว่ย ฟรีบัส 4 ถือเป็นการต่อยอดในการจำหน่ายหูฟัง 4 รุ่น ก่อนหน้า ได้แก่ FreeBuds 3, FreeBuds 3i, FreeBuds Pro, FreeBuds 4i ที่กลายเป็น Gadget ติดกระเป๋าของคนไทยหลาย ๆ คนไปแล้ว ซึ่งหากอยากรู้ว่าเจ้า หัวเว่ย ฟรีบัส 4 นั้นมีดียังไงมาอ่านรีวิวกันได้เลยหลังจากทดสอบลงใช้งาน หัวเว่ย ฟรีบัส 4 Ceramic White คงต้องยอมรับว่า หัวเว่ย ยังคงมาตรฐานในการสร้างหูฟังไร้สายได้ดีเหมือนเดิม แม้ว่าดีไซน์จะไม่หนีไปจาก หัวเว่ย ฟรีบัส 4i รุ่นก่อนหน้าซักเท่าไร แต่เรื่องของพลังเสียง ที่คมชัดแน่นในทุกจังหวะ ไม่ว่าจะป็นเสียงแหลม เสียงทุ้ม ก็เก็บได้หมด

เนื่องจากตัวเครื่องนั้นมาพร้อมไดนามิกไดรเวอร์ขนาด 14.3 มม. ซึ่งใช้ไดอะแฟรมที่มีส่วนประกอบของพอลิเมอร์ผลึกเหลว (LCP) รองรับการตอบสนองต่อย่านความถี่สูงสุดถึง 40 kHz และมีระบบตัดเสียงรบกวนที่ดีมากขึ้น ด้วยเทคโนโลยี Open–Fit ANC 2.0 โดยลดรบกวนได้ถึง 25 เดซิเบล และไม่ต้องกลัวว่าจะตัดเสียงรบกวนจากการ

ฟังเพลงอย่างเดียวเพราะตัวเครื่องนั้นใส่ ไมโครโฟน มาให้ 3 ตัว เพื่อรับเสียงระหว่างใช้งานโทรศัพท์ที่สามารถเข้าระบบทดลองเล่นได้แบบไม่กระตุก โดยไมโครโฟน 2 ตัว มีระบบการตัดเสียง ANC ด้วยเช่นกันครับ แนนอนว่าด้วยระบบตัดเสียงในไมโครโฟนที่ใส่มาให้นี้ ทำให้เราสามารถให้เป็นอุปกรณ์ในการช่วยบันทึกเสียงได้โดยให้ค่าความละเอียดในการบันทึกเสียงถึง 48 kHz ซึ่งเพียงพอในการนำเอาไปใช้ใส่ถ่าย Vlog แบบสบาย ๆ เลย เพราะมีคุณภาพเสียงการคุยโทรศัพท์ถึง 32 kHz เลยทีเดียว

อีกทั้งยังช่วยลดปัญหาเวลาเร่งรีบเพราะตัว หัวเว่ย ฟรีบัส 4 นั้นรองรับเทคโนโลยีชาร์จเร็วอีกด้วย นอกกจานนี้ แอดมินได้ลองไปทดสอบใช้กับการเล่นเกมส์บนสมาร์ทโฟน โดยเปิดใช้ Low Latency Gaming Mode ซึ่งจากการทดสอบพบว่าตัวของคุณภาพเสียง ไม่ดีเลย์เลยค่ะอีกส่วนที่นับว่าเป็นไฮไลน์ของ หัวเว่ย ฟรีบัส 4 นั้นรองรับการใช้งานแบบ Multi–tasking ทำให้สามารถเชื่อมต่อกับสมาร์ทดีไวซ์ 2 อุปกรณ์พร้อมกัน ไม่ว่าจะเป็นสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต แล็ปท็อป สมาร์ทวอทช์ หรือสมาร์ททีวี โดยการเชื่อมต่อทั้ง 2 อุปกรณ์ มีสายเรียกเข้าจากสมาร์ทโฟน ตัวเครื่องจะสลับไปที่สมาร์ทโฟนได้อัตโนมัติ โดยไม่ต้องสลับการเชื่อมต่อให้วุ่นวาย

สเปคข้อมูล (Specification) : หัวเว่ย ฟรีบัส 4

  • ขนาด : 41.4 มม. X 16.8 มม. X 18.5 มม. (หูฟัง) / เส้นผ่านศูนย์กลาง 58 มม. หนา 21.2 มม. (เคสชาร์จ)
  • น้ำหนัก : 4.1 กรัม (หูฟัง) / 38 กรัม (เคสชาร์จ)
  • สี : Silver Frost / Ceramic White
  • ไดรเวอร์ : 14.3 มม. ไดนามิกไดรเวอร์แบบ LCP ไดอะแฟรม
  • ระบบตัดเสียงภายนอกระหว่างการฟัง : ANC 2.0 (Active Noise Cancellation)
  • ระบบตัดเสียงภายนอกระหว่างโทรศัพท์ : รองรับ (3 Mics)
  • ระบบเสียงต้านเสียงลม : รองรับ
  • การรับรู้สิ่งรอบตัว : ไม่รองรับ
  • แบตเตอรี่ : Lithium polymer แบบถอดออกไม่ได้
  • ความจุแบตเตอรี่ : 30 mAh (หูฟัง), 410 mAh (เคสชาร์จ)
  • ระยะเวลาในการใช้งาน : 4 ชั่วโมง เมื่อปิดการใช้งาน ANC และ 22 ชั่วโมงเมื่อใช้ร่วมกับเคสชาร์จ
    2.5 ชั่วโมง เมื่อเปิดการใช้งาน ANC และ 14 ชั่วโมงเมื่อใช้ร่วมกับเคสชาร์จ
  • การชาร์จ : USB Type-C ระยะเวลาชาร์จเต็ม 1 ชั่วโมงสำหรับหูฟังไร้สาย และ 50 นาทีสำหรับเคสชาร์จ
  • มาตรฐาน (กันน้ำ) : IPX4
  • การเชื่อมต่อ : Bluetooth 5.2
  • ราคา :  5,999 บาท
  • วันจำหน่าย : 14 กรกฎาคม 2564

โดยเปิดเคสชาร์จ แอปฯ หรือกดปุ่มที่อยู่ด้านข้าง ๆ ด้านขวา ให้ไฟกระพริบเป็นสีขาว ตัวแอปฯก็จะเด้งถามขึ้น เข้าสู่การแจ้งเตือนเพื่อเชื่อมต่อ ฟรีบัส 4 กดตอบ “ตกลง” และแน่นอนว่าเชื่อมต่อได้อย่างอัจฉริยะกับสมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ตของหัวเว่ยที่ใช้ระบบปฏิบัติการ EMUI 10.0 ขึ้นไป

โดยเราสามารถเชื่อมต่อได้อัตโนมัติ เพียงแค่เปิดฝาเคสชาร์จ หน้าต่าง Pop–up ก็จะปรากฏบนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตที่อยู่ในบริเวณเดียวกันทันที ซึ่งหากเราไม่ได้ใช้สมาร์ทโฟนของหัวเว่ย ก็สามารถใช้งานได้นะครับ เพราะสามารถโหลดติดตั้งได้ทั้งบนระบบปฏิบัติการ Android, iOS หรือ Windows ก็ได้ค่ะอีกเรื่องที่ถือว่าดีมากคือเมื่อเราเข้าไปในตัว AI Life นอกจากเราจะเข้าไปตั้งค่าการควบคุมได้แล้ว เรายังสามารถใช้ตัวแอปค้นหาหูฟังของเราได้ด้วย โดยเข้าไปที่โหมด “หาหูฟังของฉัน“ แล้วเราจะเห็นภาพของหูฟังทัั้ง ซ้าย และขวา ซึ่งด้านล่างจะมีปุ่มกดเพื่อให้ตัวหูฟังส่งเสียงร้องให้เรารู้ว่าหูฟังอยู่ไหน ในกรณีที่เราเผลอวางตัวหูฟังไว้ไม่ได้ใส่ในเคส

ยังคงใส่ใจในเรื่องของความสะดวกสบายในการใช้งาน โดยควบคุมง่ายเพียงปลายนิ้วสัมผัส แตะ 2 ครั้งเพื่อเล่น/หยุดเพลงชั่วคราว หรือรับสาย/วางสาย, แตะค้างเพื่อเปิด/ปิดโหมด ANC, สไลด์ขึ้น/ลงเพื่อปรับระดับเสียง หรือสามารถตั้งค่าคำสั่งการใช้งานตามความคุ้นเคยของตนเองได้อย่างอิสระผ่านแอปพลิเคชันทดลองเล่น AI Lifeด้านการการออกแบบตัวหูฟังดูใส่ใจในการออกแบบมากขึ้น เพราะจากการสวมใสค่อนข้างใส่สบาย รู้สึกกระชับ อีกทั้งด้วยที่ตัวเครื่องมีน้ำหนักเพียง 4.1 กรัม ทำให้ไม่รู้สึกปวดตอนใช้งานนาน ๆ นะครับ ขณะที่ตัวเคสชาร์จก็ดีไซน์ออกมาในรูปทรงกลมขนาดเหมาะมือ และมีน้ำหนักเบาเพียง 38 กรัม เท่านั้น ทำให้สะดวกต่อการพกพา และหยิบใช้งาน

อีกสิ่งที่ต้องระวังให้มาก คือ ด้วยการที่ตัวเครื่องน้้นเป็นพลาสติกเคลือบเงา ก็อาจทำให้เมื่อเวลาตกแล้วทำให้เป็นรอยได้ง่าย ๆ นั่นเองค่ะ ซึ่งหากใส่เคสซิลิโคนเพิ่มเข้าไปก็จะช่วยได้ทั้งเรื่องของการกระแทก กันรอยขูดขีด และการเผลอเปิดแบบไม่ระวังได้ในระดับหนึ่งเลย ซึ่งเราต้องรอดูว่าทาง หัวเว่ย นั้นจะทำเคสซิลิโคน ออกมาขายเหมือนเจ้า หัวเว่ย ฟรีบัส 4i หรือเปล่า แต่แอดเชื่อว่าน่าจะมีนะค่ะ

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *