ทดลองเล่น, แอปพิเคชั่น, โปรแกรม

ACI Worldwide การทำธุรกรรมเรียลไทม์ของโลก

ACI Worldwide การทำธุรกรรมเรียลไทม์ของโลก

รายงานระดับโลกฉบับล่าสุดจาก เอซีไอ เวิลด์ไวด์ (ACI Worldwide) และโกลบอลดาต้า (GlobalData) ระบุว่า มีการประมวลผลธุรกรรมการชำระเงินแบบเรียลไทม์และเว็บไซต์ทดลองเล่นออนไลน์สามารถฝาก-ถอนผ่านระบบออนไลน์ได้แล้ว (Real-time Payment) กว่า 5.24 พันล้านรายการในประเทศไทยในช่วงปี 2563 เพิ่มขึ้น 104% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า (2.57 พันล้านรายการ)ทั้งนี้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้มีการเปลี่ยนวิธีการชำระเงินจากการใช้เงินสดไปสู่การชำระเงินแบบเรียลไทม์ผ่านระบบดิจิทัลอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางมากขึ้น โดยรายงาน “Prime–Time for Real–Time“ ฉบับนี้เป็นฉบับที่สองโดยฉบับแรกตีพิมพ์เผยแพร่เป็นครั้งแรกเมื่อปี 2563 ได้วิเคราะห์ปริมาณ

การชำระเงินบัญชีต่อบัญชีแบบเรียลไทม์ทั่วโลก รวมถึงข้อมูลคาดการณ์สำหรับกลุ่มเป้าหมาย 48 แห่งทั่วโลก รายงานดังกล่าวคาดการณ์ว่าการชำระเงินแบบเรียลไทม์ในไทยจะมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อปี (CAGR) อยู่ที่ 32.01% สำหรับช่วงปี 2563 ถึง 2568 ซึ่งสูงกว่ามากเมื่อเทียบกับอัตราการเติบโตทั่วโลก (23.6%)

การชำระเงินแบบเรียลไทม์ในไทยมีการเติบโตแบบปีต่อปีสูงเป็นประวัติการณ์ ซึ่งโดยมากแล้วเป็นผลมาจากการดำเนินการของธนาคารแห่งประเทศไทยในการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการด้านการเงิน โดยนำเสนอสิทธิประโยชน์ทางการเงินที่หลากหลายให้แก่ประชาชนผ่านระบบชำระเงินแบบเรียลไทม์ทั้งนี้ธนาคารแห่งประเทศไทยได้เปิดตัว “พร้อมเพย์“ (PromptPay) ซึ่งเป็นระบบชำระเงินแบบเรียลไทม์ของไทย เมื่อปี 2559 โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment) มีจุดมุ่งหมายเพื่อรองรับการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการจากรัฐบาลและในช่วงที่ผ่านมา ระบบดังกล่าวได้รับความนิยมแพร่หลายอย่างรวดเร็วในหมู่ประชาชน และองค์กรธุรกิจ เนื่องจากประชาชนหลายล้านคนทั่วโลกจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน และการดำเนินชีวิต รวมถึงการซื้อสินค้า/บริการ และการชำระเงิน

ดังนั้นเทคโนโลยีใหม่ ๆ จึงมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว การปรับใช้โมบายล์วอลเล็ท (Mobile Wallet) ในประเทศไทยเพิ่มขึ้นสูงสุดเป็นประวัติการณ์ถึง 83.9% ในช่วงปี 2563 เปรียบเทียบกับ 72.6% ในปี 2562 สถานการณ์การแพร่ระบาดส่งผลให้พฤติกรรมของผู้บริโภค และแนวทางการดำเนินธุรกิจเปลี่ยนแปลงไปส่งผลให้ ธนาคาร ผู้ค้า และคนกลางในระบบนิเวศน์การชำระเงินในไทยต้องตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว ด้วยการเปลี่ยนย้ายไปใช้ระบบดิจิทัลเพื่อรักษาช่องทางรายได้ที่มีอยู่ในปัจจุบัน พร้อมทั้งมองหาช่องทางใหม่ ๆ ผ่านการให้บริการลูกค้าผ่านระบบดิจิทัลอย่างทดลองเล่นเต็มรูปแบบเจเรมี่ วิลมอท ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิตภัณฑ์ของเอซีไอ เวิลด์ไวด์ กล่าวว่า สถานการณ์การแพร่ระบาดตอกย้ำถึงความสำคัญของระบบชำระเงินดิจิทัล รวมไปถึงโครงสร้างพื้นฐานระบบชำระเงินที่แข็งแกร่ง นับเป็นการย่นย่อการปรับใช้นวัตกรรมที่คาดการณ์ไว้ในช่วง 10 ปีให้เหลือเพียงปีเดียว และทำให้พฤติกรรมของมนุษย์

เปลี่ยนแปลงไปอย่างถาวร แม้กระทั่งหลังจากที่วิกฤติผ่านพ้นไป ประเทศที่มีโครงสร้างพื้นฐานการชำระเงินดิจิทัลที่แข็งแกร่งจะสามารถรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าวได้ดีกว่าประเทศที่ขาดโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่ของการควบคุมผลกระทบทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากกรณีการแพร่ระบาดระบบชำระเงินแบบเรียลไทม์ช่วยให้ภาครัฐเร่งการเบิกจ่ายเงินเยียวยาและเงินกระตุ้นเศรษฐกิจให้ถึงมือประชาชนได้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยอาศัยความร่วมมือจากสถาบันการเงิน นอกจากนี้ยังรองรับการเพิ่มสภาพคล่องแบบเรียลไทม์ให้กับองค์กรธุรกิจที่ต้องปรับตัวเพื่อรับมือกับระบบซัพพลายเชนที่หยุดชะงักด้าน ซามูเอล เมอร์แรนท์ หัวหน้านักวิเคราะห์ฝ่ายระบบชำระเงินของ โกลบอลดาต้า กล่าวว่า การชำระเงินแบบเรียลไทม์ยังคงอยู่ในช่วงเริ่มต้นทั่วโลก และโดยมากแล้ว หลายประเทศมุ่งเน้นการใช้งานในส่วนของการชำระเงินระหว่างบุคคล (P2P) อย่างไรก็ตาม สถานการณ์การแพร่ระบาดเปิดโอกาสให้รูปแบบการชำระเงินดังกล่าว

มีการขยายตัวในอัตราที่รวดเร็วยิ่งขึ้น หลังจากที่ผู้บริโภคเริ่มคุ้นเคยกับความรวดเร็วฉับไวของการชำระเงินผ่านระบบทดลองเล่น P2P แบบเรียลไทม์ ผู้บริโภคก็จะหันไปใช้การชำระเงินแบบเรียลไทม์กับธุรกรรมอี-คอมเมิร์ซ แทนการใช้บัตรชำระเงินทางออนไลน์ซึ่งมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก และใช้เวลานานกว่า

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *