คอมพิวเตอร์, ทดลองเล่น

การแก้ไขปัญหา Hard disk ด้วยตัวคุณเอง

ความตกต่างระหว่าง HDD กับ SSD

ไดร์ฟทั้งสองชนิดนี้ระหว่าง HDD และ SSD มีความแตกต่างที่เห็นได้ชัดเลยคือเรื่องราคาที่หลายคนจะมองว่าตัว SSD นั้นต้องมีราคาแพงกว่าฮาร์ดดิสและมีเนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูลที่น้อยกว่า แต่ก็แลกมากับประสิทธิภาพของการอ่านเขียนข้อมูลที่สูงกว่าฮาร์ดดิสถึง10เท่าส่วน HDD ถึงจะทำงานได้ช้ากว่าแต่ก็มีข้อดีคือราคาที่ถูกกว่ามากเมื่อเทียบกับ SSD ที่มีความจุใกล้เคียงกัน ทดลองเล่นเมื่อเทียบความเร็วกันแล้วหลายคนที่เป็นสายตัดต่อหรือสายเกมเมอร์ก็จะเลือก SSD กันเป็นส่วนใหญ่ HDD เองก็เหมาะกับสายเก็บข้อมูลเพราะได้ต้องการความเร็วในการบันทึกข้อมูลที่สูงมากนัก ในส่วนความทนทานและความเสถียรการออกแบบของ SSD นั้นไม่มีชิ้นส่วนที่เป็นจานหมุนทำให้มีความเสถียรและทนทานกว่าอีกทั้งยังได้เรื่องของความเงียบเข้ามาอีกด้วยและเมื่อต้องนำไปใช้บนโน๊ตบุ๊คที่ต้องพกพาไปไหนมาไหนตลอดตัว SSD ก็จะมีความปลอดภัยในการจัดเก็บข้อมูลมากกว่า หากพูดถึงเรื่องอายุการใช้งานตัว HDD นั้นมีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่า SSD เพราะว่าตัวของ SSD จะทำงานด้วยการเขียนแล้วลบข้อมูลซ้ำๆ ทำให้ตัวไดรฟ์เสื่อมสภาพไปเรื่อยๆ ถึงแม้เราจะจัดการข้อมูลและดูแล SSD อย่างดีอายุเฉลี่ยของ SSD ก็จะอยู่ได้เพียง 5-6 ปีโดยประมาณต่างกับ HDD ตราบใดที่ฮาร์ดแวร์ยังคงสภาพอยู่ จานหมุนยังหมุนได้ก็เท่ากับว่าฮาร์ดดิสยังสามารถใช้บันทึกข้อมูลอยู่ได้ทำให้ HDD เสื่อมสภาพลงช้ามากเมื่อเทียบกับ SSD โดยฮาร์ดดิสอาจมีอายุการใช้งานได้ถึง 10-15 ปี

Hard Disk ประกอบด้วยแผ่นวงกลมขนาดตั้งแต่ 2 – 5.25 นิ้วเรียงซ้อนกัน (แผ่นวงกลมนี้เราเรียกว่า disk) จะถูกบรรจุภายในกล่องปิดสนิท ไม่ให้อากาศหรือฝุ่นเข้าไปถึงกัน โดยมีหัวอ่านอยู่ขั้นระหว่างแผ่นดิสก์ โดยปกติหัวอ่านจะมี 2 หัวต่อแผ่นดิสก์ 1 จาน สำหรับแผ่นดิสก์แต่ละจาน ที่ผิวจะถูกแบ่งเป็นวง ๆ เราเรียกว่า Track โดยเริ่มนับจากวงนอกสุด ว่า track หมายเลข 0 (จำนวน track มาก Hard Disk ก็จะยิ่งมีความจุมาก)

การดูลรักษา Hard disk

  1. Disk Cleanup
    หลังจากการใช้งานคอมพิวเตอร์ไปสักพัก รวมทั้งการเล่น internet ก็มีส่วนด้วย ภายใน Hard Disk จะเกิดไฟล์ขยะที่เราไม่ต้องการเกิดขึ้น ซึ่งมีผลทำให้ Hard Disk มีพื้นที่ในการเก็บข้อมูลน้อยลง หรืออาจทำให้เครื่องช้าลงด้วย แต่เราสามารถแก้ไขได้ง่ายๆ ด้วยการ run โปรแกรม Disk Cleanup (ควรทำทุกวัน)
  2. Scandisk
    หลังจากกำจัดขยะภายใน Hard Disk ได้แล้ว ขั้นตอนไปก็คือการ ตรวจสอบ Hard Disk ด้วย scandisk ซึ่งจะช่วยให้ทราบว่า Hard Disk ของคุณมีปัญหาหรือไม่ (ควรทำทุกวัน)
  3. Disk Defragment
    ท้ายสุด ก็คือการจัดเรียงข้อมูลภายใน Hard Disk ให้เป็นที่เป็นทาง ซึ่งจะช่วยเพิ่มเนื้อที่ใน Hard Disk รวมทั้งการทำงานก็จะเร็วขึ้นด้วย… ถ้าคุณไม่เคย ลองดูสักครั้ง แต่ที่สำคัญ หลังจากทำ disk defragment แล้ว ให้ shutdown windows ทุกครั้งก่อนเริ่มใช้งานใหม่ (ควรทำอย่างน้อยเดือนละครั้ง)

นอกเหนือจากนี้ก็คือการจัดการ Hard Disk  ทดลองเล่นในรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า FAT32 ซึ่งจะช่วยให้การทำงานของ Windows ได้เร็วมากยิ่งขึ้น

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *